ผู้เขียน หัวข้อ: อาหารสายยาง: สายยางให้อาหารตัน จะต้องแก้ไขปัญหาได้อย่างไร ?  (อ่าน 29 ครั้ง)

siritidaphon

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 303
    • ดูรายละเอียด
อาหารสายยาง: สายยางให้อาหารตัน จะต้องแก้ไขปัญหาได้อย่างไร ?

แนวทางในการดูแลผู้ป่วยนั้นมีอยู่หลากหลายวิธี ทั้งหมดนั้นล้วนแต่ต้องการให้บรรลุเป้าหมายให้ผู้ป่วยนั้นหายดีจากอาการของโรคที่เป็นอย่าง ซึ่งไม่ว่าจะเป็นการรักษาด้วยยา การรักษาด้วยผ่าตัด การรักษาด้วยการกายภาพรวมไปถึงการรักษาด้วยอาหาร หากเราพูดถึงการรักษา หรือการบำบัดด้วยอาหารนั้น หมายถึงการใช้อาหารช่วยในการรักษาลูกด้วยการเปลี่ยนเป็นอาหารธรรมดานั้นให้เหมาะสมกับโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่ และจัดให้ถูกหลักผู้ชนะการโดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญคือช่วยรักษาและบรรเทาอาการของโรค รวมทั้งป้องกันการเกิดภาวะทุพโภชนาการ ที่อาจสามารถเกิดขึ้นระหว่างการรักษาโรค

 
ซึ่งอาหารนั้น มีประโยชน์และความสำคัญต่อผู้ป่วยมากเพราะอาหารผู้ป่วยที่ได้รับขณะที่เจ็บป่วยนั้นมีส่วนทำให้อาการของโรคบรรเทาลง หรืออาการมันกำเริบได้ ดังนั้นการได้รับพูดชนาการที่ดีสมกับโลกจึงจะเกิดประโยชน์ได้ดังนี้ ป้องกันและแก้ไขภาวะผู้ชนะการของผู้ป่วย ถัดมาคือปรับปริมาณสารอาหารบางอย่างให้อยู่นะดับที่ร่างกายสามารถใช้ได้ และน้ำหนักผู้ป่วยให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมเพื่อให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงป้องกันภาวะขาดสารอาหารได้ นอกจากนี้ยังช่วยบรรเทาและรักษาอาการของโรคที่เป็นอยู่ เช่น โรคตับอักเสบ ที่ช่วยในการลดอาหารไขมันและเพิ่มคาร์โบไฮเดรตและโปรตีนซึ่งมีส่วนช่วยในการเสริมสร้างเซลล์ตับให้ดีขึ้น


เค้าสุดท้ายคือช่วยให้อวัยวะที่พิการได้พักหรือลดการทำงานเช่นการให้อาหารอ่อนแก่ผู้ป่วย โรคกระเพาะ ที่จะสามารถช่วยให้ลำไส้และกระเพาะได้ทำงานน้อยลง ทำให้อาการของโรคบรรเทาลง ซึ่งการรักษาด้วยอาหารนั้นมีทั้งแบบผู้ป่วยรับประทานอาหารเองได้และไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้ วันนี้เราจะมาพูดถึงการรักษาแบบไม่สามมารถรับประทานอาหารเองได้ คือกรณีใช้สายยางให้อาหาร ซึ่งมีวัตถุประสงค์ ผู้ป่วยรับประทานอาหารทางปากไม่ได้อย่างน้อย 5-7 วัน และมีภาวะทุพโภชนาการให้เห็นได้ชัดเจน และยังมีกรณีผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ยังรวมไปถึงผู้ป่วยมีปัญหาการกลืน และผู้ป่วยมีปัญหาเกี่ยวกับลำไส้ล้มเหลวบางส่วน ผู้ป่วยโรคทางจิตเวชที่มีปัญหาการรับประทานอาหาร เป็นต้น

 
ในการดูแลผู้ป่วยด้วยการใช้สายยางให้อาหาร ผู้ดูแลนั้นจะต้องมีความเชี่ยวชาญ ทราบถึงการเตรียมอุปกรณ์ ขั้นตอนการให้ การให้อาการอย่างถูกวิธี และวิธีสังเกตอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดที่จะต้องเฝ้าระวัง ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดไม่ว่าจะเป็น อาการไอขณะให้อาหาร สำลักขณะให้อาหาร หรือแม้แต่สายางเกิดการอุดตันเมื่อถึงเวลาให้อาหารพบว่าสายยางนั้นเมื่อต่ออาหารแล้วอาหารไม่สามารถไหลลงได้ สิ่งแรกที่ผู้ดูแลต้องตรวจเช็คก่อนให้อาหารผู้ป่วยเสมอ จะเริ่มต้นจากการเช็คสายยางให้อาหารว่ายังอยู่ในกระเพาะอาหารผู้ป่วยหรือไม่ ด้วยวิธีการดูดดู content ที่อยู่ในกระเพาะอาหารว่าสามารถดูดขึ้นหรือดันไปได้หรือไม่


หากดูดแล้วไม่ติดขัดอาจมีอาหารเดิมคั่งค้างขึ้นมานั่นหมายถึงสายยางให้อาหารยังคงอยู่ในกระเพาะอาหาร จากนั้นก็สามารถให้อาหารได้ แต่ถ้าหากเราเจอปัญหาดูด content ไม่ขึ้นหรือดันไม่ไป ให้ลองขยับสายเล็กน้อยแล้วตรวจดูด้วยวิธีเดิมถ้าหากยังคงไม่ได้ ก็อาจจะแปลได้ว่าสายยางให้อาหารนั้นตันหรือมีเศษอาหารไปอุดจนเป็นก้อนแข็งที่สาย ผู้ดูแลอาจต้องใช้วิธีเปลี่ยนสายเพื่อแก้ไขปัญหา เพราะหากเกิดขึ้นแล้วปัญหาเดิมอาจเกิดขึ้นซ้ำได้

 
สายยางให้อาหารนั้นมีประโยชน์อยู่มากมาย ไม่ได้ใช้เฉพาะเพียงผู้ป่วยที่รับประทานอาหารทางปากไม่ได้หรือมีปัญหาระบบย่อยอาหารไม่ดี แต่ยังช่วยแก้ปัญหาผู้ป่วยที่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้ แต่ไม่สามารถควบคุมอาหารได้ ทั้งนี้การควบคุมอาหารด้วยสายยางให้อาหารไม่ได้เป็นอีกหนึ่งตัวช่วยของสายยางให้อาหารที่คอยควบคุมปริมาณอาหารได้เช่นเดียวกันหากตัวผู้ป่วยและญาติรับทราบ แต่ไม่เป็นที่แพร่หลายมากนัก ฉะนั้นก็จะทำให้เราเห็นว่าสายยางให้อาหารนั้นมีประโยชน์อยู่มาก ทางเรานั้นยังมุ่งมั่นพัฒนาสูตรอาหารปั่นผสมเพื่อผู้ป่วยที่จำเป็นต้องใช้สายยางให้อาหาร ที่สะอาดและปลอดภัย ได้รับสารอาหารที่ควรได้รับของผู้ป่วยอย่างดีที่สุด